เทศกาลเข้าพรรษา
เป็นช่วงเวลา 3 เดือน ที่พระภิกษุสงฆ์จะพักอยู่ประจำ ณ ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น เรียกว่า "จำพรรษา" ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
วิชชาชีวิต
วิชชาชีวิต "ความจริงของชีวิต คือ เราไม่สามารถดำรงอยู่ได้ ด้วยวิชาชีพเพียงอย่างเดียว ต้องมีวิชชาชีวิต คอยเคียงข้างเป็นกัลยาณมิตรให้ด้วย เพราะยามใดที่มีอุปสรรค เรายังสามารถอาศัยวิชชาชีวิตที่เรียนรู้มา คอยประคับประคองให้ข้ามพ้นอุปสรรคนั้นได้" คำสอนพระเทพญาณมหามุนี วิ.
ลูกหลานย่าโม..โกลาหล..ปีติขบวนอัญเชิญพระบรมธาตุ
บรรยากาศวันนี้ อบอุ่น อิ่มบุญ อิ่มอร่อย กันตั้งแต่เช้าเลยค่ะ เพราะก่อนที่พุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญจะเดินทางต่อไปยังเมืองโคราชแดนย่าโมนั้น ท่านพ่อเมืองสระบุรี นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ พร้อมคณะและผู้มีบุญ ได้พากันมาถวายภัตตาหารแด่คณะพระธุดงค์ 1,200 รูป ด้วยความเบิกบานใจ
วิสาขามหาอุบาสิกา (สร้างบุพพาราม)
นายมาลาการพึงทำพวงดอกไม้ให้มาก จากกองดอกไม้แม้ฉันใด มัจจุสัตว์ผู้มีอันจะต้องตายเป็นสภาพ ควรทำกุศลไว้ให้มากฉันนั้น
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๖)
ธรรมดาพวกมนุษย์ ย่อมไปสู่สำนักของพวกมนุษย์ พวกโคก็ไปสู่ฝูงโค บรรพชิตก็ไปสู่สำนักของบรรพชิต บัณฑิตก็เข้าไปหาพวกบัณฑิต
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๒)
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุษร้ายจิตที่ฝึกแล้ว
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๑)
บุญทั้งหลาย เป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ก่อนลมหายเฮือกสุดท้าย)
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป การเข้าไปสงบระงับสังขารเหล่านั้น นำสุขมาให้
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) พระมหาเถระผู้เป็นประวัติศาสตร์ความทรงจำพระพุทธศาสนาโลก
เส้นทางชีวิตและความคิดของพระสงฆ์ไทย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) "สมเด็จเกี่ยว" ผู้กลายเป็นตำนานพระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก
พระบรมธาตุ
พระบรมธาตุ บทบาทและความสำคัญของพระบรมธาตุ ตำนานพระบรมธาตุ เรื่องพระบรมธาตุ เมื่อสิ้นศาสนา พระธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหมดจะเสด็จไปรวมกันที่พระมหาเจดีย์เมืองอนุราธปุระในลังกา แล้วจึงเสด็จไปรวมกันขึ้นเป็นองค์ที่โพธิบัลลังก์ในอินเดีย แสดงธรรมแก่เทวดาทั้งหลายเป็นครั้งสุดท้าย อันตรธาน