ครุฑ ภุมมเทวา รุกขเทวา อากาสเทวา คือใคร?
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 15
ตัวอย่างของอานิสงส์แห่งบุญโดยย่อ ที่เกิดจากการทุ่มเทสั่งสมบุญสร้างบารมีอย่างเต็มที่เต็มกำลังของอุบาสิกาผู้อุทิศชีวิตให้พระพุทธศาสนา
รัตนชาติและพระรัตนตรัย
ดูก่อนปหาราทะ มหาสมุทรมีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะในมหาสมุทรนั้น คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต ฉันใดก็ฉันนั้น ดูก่อนปหาราทะ ธรรมวินัยนี้ก็มีรัตนะมากมายหลายชนิดเหมือนกัน รัตนะในธรรมวินัย คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะมากมายหลายชนิดนี้ เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นแล้ว จึงอภิรมย์ยินดียิ่งในศาสนานี้อยู่
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 14
มาตลีเทพสารถีนำทิพยานแล่นผ่านประตูเทพนคร นำพระเจ้าเนมิราชชมความงามไปเรื่อยๆ พร้อมกับพรรณนาความงดงามตระการตาของดาวดึงส์แดนสวรรค์ไปไม่ขาดสาย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สั่งสมบุญเพื่อตนเอง
เทพธิดาผู้ได้สั่งสมบุญไว้อย่างดีแล้วในครั้งที่เป็นมนุษย์ ได้เป็นผู้สำรวมด้วยดีในศีล ที่ได้สมาทานไว้ เป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต เว้นห่างไกลจากอทินนาทาน จากการประพฤติผิดในกาม เว้นขาดจากมุสาวาท และจากการดื่มน้ำเมา เป็นผู้ยินดีในสิกขาบททั้ง ๕ และมีดวงตาเห็นธรรมแทงตลอดในอริยสัจ แล้วผลบุญจะเป็นเ่ช่นไรนั้น
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่ ๔ ( พลานุภาพแห่งบุญ )
ปวงสัตว์ในโลกผู้อาศัยอาหาร เป็นอยู่ทุกจำพวก ขอจงได้อาหารอันน่าพอใจด้วยใจของเรา เมื่อตั้งจิตอย่างนี้ อาหารทั้งหลายก็บังเกิดขึ้น พระองค์สามารถเลี้ยงคนได้ทั้งโลกเพียงแค่ใจนึกคิดเท่านั้น
สนใจติดตั้งจานดาวธรรม
นิมมานรดี สวรรค์ชั้นที่ 5 เนรมิตสมบัติได้ตามใจปรารถนา
สวรรค์ชั้นนิมมานรดี เป็นสวรรค์ชั้นที่ 5 มีความพิเศษ กว่าสวรรค์ทั้งชั้น 4 ที่ผ่านมาในเรื่องของสมบัติอันเป็นทิพย์ที่สามารถเนรมิตได้ตามใจปรารถนา ซึ่งเป็นสวรรค์อีกชั้นหนึ่งที่น่าศึกษายิ่ง
ความปรารถนาของบัณฑิต
บุคคลควรคบหากับสัตบุรุษ ควรทำความสนิทสนมกับสัตบุรุษ เพราะเมื่อบุคคลรู้ทั่วถึงธรรมของสัตบุรุษแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ