การเลือกคู่และการรับน้องใหม่ที่ดาวดึงส์
ทางมาแห่งการครองเรือนยังมีอีกหลายวิธี เช่น มีเทพธิดา ก. และเทพบุตร ข. ต่างก็มีวิมานของตน เมื่อไปเที่ยวชมสวนก็ดี ไปฟังธรรมที่ธรรมสภาก็ดี เมื่อเจอกันหากมีบุพเพสันนิวาสที่เคยอยู่ร่วมกันมา หรือร่วมบุญสร้างกันมา ก็จะรู้สึกชอบกัน
สิ่งที่มีค่ามากที่สุดในปรโลก ตอนที่ 2
สวรรค์ เป็นของกลาง ไม่ว่าจะเป็นใคร เชื้อชาติใด ไม่ว่าจะนับถือความเชื่อใด หากหมั่นสั่งสมความดีอยู่เป็นนิตย์ ก็ไปสวรรค์ได้
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 13
ตัวอย่างของอานิสงส์แห่งบุญโดยย่อ ที่เกิดจากการทุ่มเทสั่งสมบุญสร้างบารมีอย่างเต็มที่เต็มกำลังของอุบาสิกาผู้อุทิศชีวิตให้พระพุทธศาสนา
สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๒ (โคปกเทพบุตร)
การปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา เป็นกรณียกิจ คือ กิจที่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะเป็นกิจหลักที่จะนำพาทุกๆ คน ให้เข้าถึงความสุขที่แท้จริง คือ
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ถึงความเต็มเปี่ยมของชีวิต
จนมาถึงในสมัยพุทธกาลนี้ ท่านเกิดในตระกูลเศรษฐี มีชื่อว่า โชติกะ ในวันที่ท่านเกิด สรรพาวุธทั่วทั้งเมืองเกิดแสงสว่างโชติช่วง ทั่วทั้งเมืองสว่างไสวไปหมด เมื่อถึงวัยที่จะครองเรือน พระอินทร์ได้เสด็จมาจากเทวโลก เนรมิตปราสาท ๗ชั้น ที่ทำด้วยรัตนะทั้ง๗ มีกำแพง ๗ชั้น แวดล้อมปราสาทอย่างประณีตสวยงาม
นิมมานรดี สวรรค์ชั้นที่ 5 เนรมิตสมบัติได้ตามใจปรารถนา
สวรรค์ชั้นนิมมานรดี เป็นสวรรค์ชั้นที่ 5 มีความพิเศษ กว่าสวรรค์ทั้งชั้น 4 ที่ผ่านมาในเรื่องของสมบัติอันเป็นทิพย์ที่สามารถเนรมิตได้ตามใจปรารถนา ซึ่งเป็นสวรรค์อีกชั้นหนึ่งที่น่าศึกษายิ่ง
ความงดงามของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ในท่ามกลางเทพนครนั้น มีเวชยันตปราสาทสูงถึง 1,000 โยชน์ มีความสวยงามสุดพรรณนา ล้วน แล้วประดับด้วยรัตนชาติ 7 ประการ เพราะเป็นที่ประทับของท้าวสักกะจอมเทพ
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนที่ 2 : ระดับชั้นของรูปพรหม
ในบรรดารูปพรหมทั้งหลายยังมีการแบ่งระดับชั้นตามภูมิที่อยู่ ซึ่งมีทั้งหมด 16 ชั้น มีหลักการแบ่งชั้น คือ แบ่งตามระดับความแก่อ่อนของกำลังฌาน
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
นิมมานรดี
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีความหวังให้ทาน ไม่มีจิตใจผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน อีกทั้งไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า “เราหุงหากินได้ แต่สมณะ หรือพราหมณ์ทั้งหลาย ไม่ได้หุงหากิน การไม่ให้ทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ทั้งหลาย ย่อมเป็นการไม่สมควร” แต่ให้ทานด้วยคิดว่า “เราจักเป็นผู้จำแนกแจกทานเช่นเดียวกับท่านฤาษีทั้งหลาย ผู้ที่ได้เคยจำแนกแจกทาน ตามแบบอย่างของบัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อน บุคคลนั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาทั้งหลาย ในสวรรค์ชั้นนิมมานรดี