ลูกทรพี
คำถาม : คำว่าเนรคุณหรือลูกทรพี คือ ลูกที่ปฏิบัติตัวอย่างไรกับพ่อแม่ และจะต้องแก้ไขวิบากกรรมนี้อย่างไร
อสัมปทานชาดก ชาดกว่าด้วยการไม่รับของทำให้เกิดการแตกร้าว
สังขเศรษฐีได้ช่วยเหลือสหายของตนนามว่าปิลิยเศรษฐี โดยแบ่งเงินของตนให้ ๔๐ โกฎิ แล้วยังแบ่งสมบัติทั้งหลายที่ตนมี ทั้งข้าทาสบริวารให้แก่ปิลิยเศรษฐีครึ่งหนึ่งในครั้งที่เพื่อนของตนเดือดร้อน แต่ในยามที่สังขเศรษฐีลำบาก ปิลิยเศรษฐีกลับเมินเฉยไม่ยอมช่วยเหลือใดๆ
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "คนชั่วช้า ไม่พ้นตาสังคม"
สพฺพญฺเจ ปฐวี ทชชา, นากตญฺญุมภิราธเย ถึงจะให้แผ่นดินทั้งหมด ก็ยังคนอกตัญญูให้ยินดีไม่ได้
สัจจังกิรชาดก ชาดกว่าด้วยไม้ลอยน้ำดีกว่าคนอกตัญญู
พระฤาษีได้ช่วยเหลือทุฏฐกุมารผู้มีใจโหดร้ายให้รอดพ้นจากกระแสน้ำที่ไหลหลาก แต่ทุฏฐกุมารกลับโกรธแค้นที่ฤาษีดูแลและให้ความสำคัญกับชีวิตสัตว์มากกว่าตน เลยผูกใจเจ็บและได้สั่งตัดหัวพระฤาษีทันทีเมื่อได้โอกาส
คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 1 มีนาคม พ.ศ.2560 เวลา 10.00 น.
อย่ารอให้ประเทศไทยไร้พระพุทธศาสนา
เมื่อพระศาสนาถูกทำให้มัวหมองจนผู้คนเสื่อมศรัทธาในพระสงฆ์ จึงเป็นกิจและหน้าที่โดยตรงของคณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนที่ต้องลุกขึ้นมากอบกู้ เหมือนสมัยของท่าน “คุณานันทเถระ” ที่กอบกู้พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา
กโปตกชาดก-ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีใจโลเล
อันพระพุทธวัจนทั้งหมดทั้งสิ้นที่ผ่านความยาวนานของกาลเวลามากกว่า 2500 ปีนั้น มีพระธรรมคำสอนเพียงไม่กี่ข้อที่ผู้คนในโลกจำกันขึ้นใจ บุคคลพึงสำเร็จได้ด้วยความเพียรก็เป็นพระพุทธธรรมข้อหนึ่งที่เราจดจำนำไปปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติกิจใดโดยความเพียรก็ย่อมมีข้อขันติอดทน ไม่มีใจโลเลเป็นสิ่งนำสู่ความสำเร็จ
ปัณฑรกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษการเปิดเผยความลับแก่ผู้อื่น
ปลายพุทธกาลวาระหนึ่ง เมื่อภิกษุในธรรมสภาปรารภถึงพระเทวทัตเถระซึ่งถูกทรณีสูบลงไปยังยมโลกเหตุเพราะก่อพุทธประหาร เทวทัตซึ่งนับเป็นพระญาติอันมากด้วยริษยาต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้นี้ทรยศหักหลังมิตร
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 133
สิ้นเสียงมโหสถบัณฑิต พวกทหารก็พากันฉุดลากตัวพราหมณ์อนุเกวัฏออกไปจากกองบัญชาการรบอย่างไม่ปรานี จากนั้นจึงได้ทำพิธีเนรเทศตามกฎมณเฑียรบาล โดยโกนผมของอนุเกวัฏให้เป็นมุ่น ทำให้เป็นจุก 5หย่อม แล้วโรยผงอิฐลงบนกบาล เอาพวงดอกยี่โถทัดไว้ที่หู จากนั้นก็พาไปยังกำแพงเมือง ซึ่งเป็นพิธีกรรมขับไล่ผู้ทรยศต่อแผ่นดินในสมัยนั้น
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พญาช้างโพธิสัตว์
ความมืดมิดที่ปกคลุมดวงจิตของคนอกตัญญู มืดยิ่งกว่ากลางคืนที่ไร้แสงจันทร์ เพราะ ยามราตรีแม้ไม่มีแสงจันทร์ ก็ยังมีแสงจากดวงดาว แสงหิ่งห้อย แต่ถ้าเป็นคนอกตัญญูจิตใจมืดบอดแล้ว แม้แสงสว่างแห่งความดีทั้งหลายก็ไม่อาจส่องเข้าไปในจิตใจเขาได้ เขาจะมองไม่เห็นคุณความดีของใครเลย เหมือนเรื่องของนายพรานใจบาป