เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๔ ( พระราชทานช้างมงคล )
เมื่อพราหมณ์ขอช้างได้แล้ว ก็พากันแห่ไปในใจกลางเมือง ครั้นมหาชนเห็นช้างมงคล ต่างถามว่า ท่านได้ช้างนี้มาจากไหน ทันทีที่รู้ว่าได้รับบริจาคมาจากพระเวสสันดร ต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ และโกรธพระโพธิสัตว์มาก ได้รวมตัวกันตั้งแต่คนที่มีชื่อเสียง พระราชบุตรจากทุกตระกูล พ่อค้า ชาวนา พราหมณ์ พากันมาชุมนุมร้องเรียนพระเจ้าสัญชัยว่า
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๓ ( กำเนิดพระเวสสันดร )
ครั้นพระโพธิสัตว์ออกมาจากครรภ์ของพระมารดา เพียงลืมพระเนตรทั้งสองได้เท่านั้น ก็เหยียดพระหัตถ์ออกมาพลางกล่าวกับพระมารดาว่า “ข้าแต่พระแม่เจ้า หม่อมฉันจะบริจาคทาน มีทรัพย์อะไรพอที่จะให้ลูกบริจาคได้บ้าง” พระชนนีตรัสตอบว่า “ลูกรัก ลูกจงบริจาคทานตามอัธยาศัยเถิด” จากนั้น
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๒ ( พระนางผุสดีขอพร ๑๐ ประการ )
ข้าพระพุทธเจ้าได้ทำการบูชาพระองค์ด้วยจุณแห่งแก่นจันทน์นี้ ขอให้ข้าพระพุทธเจ้าได้เป็นมารดาของพระพุทธเจ้าผู้เช่นพระองค์ในอนาคตกาล
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑ ( ปฐมเหตุ )
พระบรมโพธิสัตว์ได้ดำรงตนเป็นแบบอย่างนักสร้างบารมี ตั้งแต่ประสูติจากพระครรภ์ของพระมารดา ก็แบพระหัตถ์ออก และกล่าวกับพระมารดาว่า"เสด็จแม่ มีสิ่งใดให้ลูกได้ทำทานบ้าง" นี่..พระองค์เกิดมาเพื่อการนี้ เพื่อบ่มบารมีให้แก่รอบ ครั้นพระชนมายุได้เพียง ๘ ชันษา ประทับอยู่บนปราสาทตามลำพัง ทรงคิดที่จะบริจาคทานว่า "เราพึงให้หัวใจ ดวงตา เนื้อ เลือด และร่างกายที่มีอยู่ทั้งหมดนี้ หากใครมาขอเรา ให้เราได้ยิน เราก็จะพึงให้ด้วยความยินดี"
“พระเวสสันดร”จากชาดกสู่ภาพยนตร์ไทย ร่วมเผยแพร่ทานบารมีในยุคเศรษฐกิจวิกฤต
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง คือตัวนำไปสู่ความตาย "อนิจจาปลาใหญ่คร่ำครวญถึงแต่นางปลาสาว มิได้รู้สึกกลัวความตายที่อยู่ตรงหน้าสักนิด"
พิธีมอบสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนาโคราช
ชมรมสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ในอุปถัมภ์พระราชภาวนาวิสุทธิ์ มอบสื่อการเรียนรู้วิชา
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
พระบัณฑิต DOU รุ่นแรกของโลก (8)
มีญาติโยมถามกระผมว่า เรียน DOU ยากไหม กระผมขอตอบได้เลยครับว่า ไม่ยาก เพราะกระผมเป็นเจ้าอาวาสมีภารกิจต้องดูแลบริหารวัด ต้องเทศน์สอน พร้อมๆกับทำกิจวัตร กิจกรรมของพระไปด้วย แต่กระผมก็เรียน DOU ได้จนจบ เพราะการเรียน DOU ไม่ได้เป็นภาระ แต่เป็นสิ่งที่ช่วยให้กระผมทำหน้าที่ของความเป็นพระได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น DOU ทำให้กระผมได้ทบทวนความรู้ที่เคยศึกษามาแล้ว
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”