จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
ทำไมคนจึงต่างกัน ?
สุภมาณพ โตเทยยบุตร พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลถาม พระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ อะไรหนอแล เป็นเหตุ เป็นปัจจัยให้พวกมนุษย์ที่เกิดเป็นมนุษย์อยู่ ปรากฏความเลวและความประณีต
สะเก็ดข่าวสั้นทันปรโลก ตอนที่ 3
ภายหลังจากที่กองทัพของแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวชได้รับทราบข้อมูลและสถานที่ตั้งของแหล่งเสบียงขนาดใหญ่ของทหารฝ่ายข้าศึกซึ่งแอบซ่อนและตั้งอยู่กลางหุบเขาแห่งหนึ่งในละแวกนั้นแล้ว ทางกองทัพของพระราชาองค์ที่ออกบวชก็ไม่รอช้าได้จัดการวางแผนเข้าจู่โจมและทำลายคลังเสบียงของข้าศึกแห่งนี้ในทันที
ท่าทีต่อสงฆ์ในยุคปัจจุบัน
พระภิกษุตามวัดต่าง ๆ มีอยู่เป็นจำนวนมาก ที่ตั้งใจรักษาศีล ปฏิบัติธรรม ฝึกจิต ยินดีในความมักน้อย สันโดษ แต่สื่อไม่ได้นำข่าว ในด้านดีของพระมาเสนอต่อสาธารณชน ผู้คนในสังคมจึงพากันเข้าใจว่า พระดี ๆ หาไม่ได้แล้ว
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ชิตัง เม... เราชนะแล้ว
ยามใดที่เราพรั่งพร้อมด้วยโภคทรัพย์สมบัติ มีศรัทธา พบเนื้อนาบุญยามนั้นเราย่อมสร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แต่ยามใดที่เราไม่มีไทยธรรมหรือโภคทรัพย์สมบัติ แม้จะมีศรัทธา มีเนื้อนาบุญ เราก็ไม่อาจจะให้ทานได้ กว่าจะสร้างบารมีอื่นๆ ได้แต่ละอย่าง ก็แสนจะลำบาก เพราะฉะนั้นทานบารมีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญของนักสร้างบารมี
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
“ทีไอทีวี” เป็น “ทีวีสาธารณะ” โละทิ้งพนักงานทั้งหมด
เราชนะแล้ว
เพราะความตระหนี่และความประมาท คนเราจึงให้ทานไม่ได้ ผู้มีปัญญาเมื่อต้องการบุญ พึงให้ทานเถิด
มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (2)
ผู้ใดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว มีศีลอันงามที่พระอริยะสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อนึกถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนืองๆ เถิด