การผ่อนคลายกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น
วิธีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อมีอยู่หลายวิธี เช่น การนวด โยคะ ฤๅษีดัดตน การฝังเข็ม เป็นต้น ถ้าปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของแต่ละวิธี ย่อมสามารถคลายกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดุลยภาพบำบัด
ดุลยภาพบำบัด คือ วิธีการป้องกันบำบัดรักษาโรคและบำรุงสุขภาพ ด้วยการปรับความสมดุลโครงสร้างของร่างกาย ดุลยภาพบำบัดจึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานทางกายวิภาคและสรีรวิทยา เพื่อป้องกันและรักษาโรคด้วยตนเอง
สาเหตุที่ร่างกายเสียสมดุล
สาเหตุของความเจ็บป่วยหลายๆ โรค มาจากตัวเราเอง ดังนั้น เราจึงต้องมีสติควบคุมกำกับการทำงานของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และพังผืด ให้อยู่ในภาวะสมดุลอยู่เสมอ ร่างกายก็จะอยู่ในภาวะปกติตลอดเวลา
ภูมิแพ้ และหอบหืด - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้จะมีอาการน้ำมูกไหลไม่หยุด ทั้งนี้เพราะระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติคที่ทำหน้าที่ควบคุมการหยุดหลั่งน้ำมูก ซึ่งผ่านมาทางคอและทางท้ายทอยถูกปิดกั้น ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ตามปกติ
ปวดข้อ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ตามธรรมดาเมื่อมีอาการปวดข้อ คนเราก็สนใจดูแลเฉพาะแต่ตรงข้อ หรืออย่างมากก็บอกว่า กล้ามเนื้อตรงบริเวณข้อไม่แข็งแรง จึงพยายามบริหารกล้ามเนื้อตรงข้อนั้นให้แข็งแรง แต่ความจริงมีอยู่ว่า กล้ามเนื้อที่ไม่ได้รับสัญญาณประสาทจากสมองจะบริหารอย่างไรก็ยากที่จะกลับมาแข็งแรงเหมือนเดิม
ไมเกรน (โรคปวดศีรษะรุนแรงเรื้อรัง) - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
บางคนมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงและเรื้อรัง มักจะสงสัยว่า ตนเองอาจจะมีเนื้องอกในสมอง จึงไปขอให้แพทย์เอ็กซ์-เรย์ดู แต่ก็ไม่พบความผิดปกติใดๆ บางคนบอกว่า ตนปวดศีรษะเนื่องจากความเครียด แต่บางคนทั้งๆ ที่เครียดก็ไม่รู้สึกปวดศีรษะ
สายตาผิดปกติ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
คนที่สายตาปกติ เวลาเขามองอะไรไม่ว่าใกล้หรือไกลก็ชัดทั้งนั้น ทำไมถึงชัด ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจให้ถูกว่า เลนส์ตาไม่ใช่แข็งเป็นแก้ว แต่เป็นเนื้อเยื่อใสๆ ที่ยืดหดได้ โดยอาศัยกล้ามเนื้อที่อยู่รอบๆ เลนส์ตา ทำหน้าที่ปรับเลนส์
ความเจ็บป่วยเนื่องจากโครงสร้างของร่างกายเสียสมดุล
โครงสร้างของร่างกายที่เสียสมดุล จะเป็นปัจจัยหลักในการปิดกั้นการทำงานของอวัยวะต่างๆ อวัยวะที่ได้รับผลกระทบนั้น ก็ทำงานผิดปกติ ซึ่งเป็นสาเหตุของความเจ็บป่วย เกิดเป็นโรคต่างๆ คุกคามร่างกายให้ได้รับความทุกข์ทรมาน
ลักษณะมหาบุรุษ (๑)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้
ระบบการขนส่งหลักภายในร่างกาย
องค์ประกอบหลักทั้ง ๓ ประการ ดังกล่าวในข้อ ๑ นั้น ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปได้ด้วยตัวเอง ร่างกายจึงต้องมีระบบการขน