วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 191
การกลับมาสู่ปัญจาลนครของมโหสถในครั้งนี้ สร้างความไม่พอพระทัยให้กับพระนางนันทาเทวีเป็นอันมาก เพราะตอนที่พระนางเคยถูกคนของมโหสถจับกุมตัวไปยังมิถิลานคร แม้จะล่วงเลยมานานกว่าสิบปีแล้ว แต่ภาพเหล่านั้นก็ยังฉายชัดอยู่ในพระหทัย พระนางจึงทรงผูกพระทัยเจ็บฝังแน่นในพระหทัยตลอดมา ทรงหาโอกาสที่จะทำลายมโหสถเสียให้ได้
ในโลกนี้ เราจะหาอะไร ๆ ให้กับใจที่มีกิเลสราคะ กิเลสโทสะ กิเลสโมหะนั้น ไม่มีที่พอ ได้เท่าไหร่มันก็ไม่พอ
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ของแท้ของเทียม
วันรุ่งขึ้น เมื่อนิครนถ์ ๕๐๐ คน มาถึง สิริคุตต์ออกไปต้อนรับ พลางนึกในใจว่า "หากนิครนถ์เหล่านี้เป็นผู้รู้จริง จงอย่าเข้ามาในเรือน เพราะในเรือนนี้ไม่มีภัตตาหาร มีแต่หลุมคูถ"
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - มีบุญแล้วไม่ต้องกลัวต่อปรโลก
ความตายไม่ใช่เรื่องน่าหวาดกลัว เป็นเพียง การเดินทางไปสู่ปรโลก หรือย้ายที่อยู่ใหม่ เปลี่ยนภพภูมิใหม่เท่านั้นเอง พระพุทธองค์ทรงสอนวิธีเตรียมตัวก่อนตาย เพื่อเดินทางไปสู่ปรโลกไว้ว่า ทำอย่างไรจึงจะไปอย่างองอาจ ไปอย่างปลอดภัยและมีชัยชนะ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๓ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พื้นฐานชีวิตของมนุษย์ทุกคน ล้วนมีความทุกข์กันทั้งนั้น ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงบัดนี้ เราต้องพบกับความทุกข์ และส่วนใหญ่ยังไม่เคยพบความสุขที่แท้จริง
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
อยู่ก็รัก จากก็คิดถึง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาราณียธรรม ๖ ประการนี้ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เข้าไปตั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง แบ่งปันลาภทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยธรรมได้มาโดยธรรม แม้โดยที่สุดบิณฑบาต ย่อมบริโภคร่วมกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายผู้มีศีล ภิกษุเป็นผู้มีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันวิญญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง อนึ่ง ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นของประเสริฐ เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ ย่อมนำออกเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้กระทำทิฏฐิอันนั้น มีอยู่ ภิกษุเป็นผู้ถึงความเสมอกันด้วยทิฏฐิในทิฏฐิเห็นปานนั้นกับเพื่อนสหพรหมจารีทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่รัก เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่เคารพ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคี เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ชวนคนไทย “ยิ้ม” ป้องกัน “มะเร็ง”