บวชไม่ถึงพรรษาหัวใจวาย หลับแล้วตื่นกลางวิมานชั้นดาวดึงส์
ทันทีที่ท่านได้ลืมตาตื่นขึ้น คือ หลับแล้วตื่น ท่านก็พบว่าร่างกายของท่านเปลี่ยนไป
รักษาสุขภาพระหว่างเดินทางไกล..อย่างไรไม่ป่วยไข้ คลิ๊ก
ในระหว่างเดินทาง ไม่ว่าเดินทางโดยเครื่องบินหรือทางใดก็ตาม สิ่งที่ยึดถือเป็นข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัด คือ
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวอินโด ตอนที่ 2
การละเล่น การละเล่นที่มีมาแต่เก่าก่อนของชาวอินโดนีเซียมีหลายอย่าง ที่น่าสนใจคือ วายังกูลิต (Wayang Kulit) หรือที่นิยมเรียกกันว่า วายังเป็นการแสดงหุ่นเชิดฉายเงาบนจอคล้ายหนังตระลุง มีเครื่องดนตรีประกอบ 4 ชิ้น เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับสงครามในศาสนาฮินดูที่เล่าสืบต่อกันมาของชาวชวาและชาวบาหลี ใช้หุ่นกว่า 60 ตัว ผู้พากย์จะต้องมีความชำนาญในการใช้ภาษากาวี ซึ่งเป็นภาษาโบราณที่ตัวละครฝ่ายดีพูด และภาษาบาหลีสำหรับตัวละครฝ่ายร้ายพูด
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ประพฤติธรรม คือ เรื่องสำคัญของชีวิต
สังขารร่างกายของเราก็เช่นเดียวกัน ความแก่ ความเจ็บ ความตายได้คืบคลานเข้ามาในชีวิตเรา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกอนุวินาที โดยที่ตัวเราก็สังเกตไม่ออก เมื่อเวลาผ่านไป ๑๐ ปี ๒๐ ปี ๖๐ ปี จึงรู้ว่าเราแก่ลงทุกขณะ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องกันไปสู่ความเสื่อมสลาย ดังนั้น เราจึงไม่ควรประมาทในชีวิต
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - คำถามนำไปสู่ความหลุดพ้น
เหมือนดังเรื่องของเมตไตยยะ ซึ่งออกบวชเป็นชฎิล คือ นักบวชประเภทหนึ่งที่มีในสมัยนั้น ปรารถนาจะหลุดพ้นจากทุกข์ เมื่ออินทรีย์แก่กล้า บุญบันดาลให้มาพบแสงสว่าง ท่านได้พบกับยอดกัลยาณมิตร คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีโอกาสได้ทูลถามปัญหา และตั้งปัญหาถามได้ลึกซึ้ง เป็นปัญหาที่น่ารู้น่าศึกษาทั้งสิ้น
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 85 ขันติบารมี
ขันติบารมี คือ ความอดทนอดกลั้นต่ออุปสรรคและความยากลำบากต่างๆ รวมถึงอดทนต่อคำนินทาว่าร้ายและคำสรรเสริญเยินยอ
ม้ากัณฐกะ มีความสำคัญอย่างไร
ม้ากัณฐกะเป็นม้าพระที่นั่งของเจ้าชายสิทธัตถะ เป็นม้าสหชาติ คือ เกิดวันเดียวกับเจ้าชายสิทธัตถะ
ประเทศเนปาล (คีรีนคร)
ประเทศเนปาลเป็นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ เพราะเป็นแดนประสูติของพระบรมศาสดาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ขั้นตอนการมาเกิดและที่มาของเพศ
ในยามกลางของคืนวันที่พระมหาบุรุษตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ คือ เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย
ต่างกันไหม คนที่ให้ทานกับไม่ให้ทาน
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสุมนา คนทั้งสองนั้นพึงมีความพิเศษแตกต่างกัน คือ ผู้ให้เป็นเทวดาย่อมข่มเทวดาผู้ไม่ให้ด้วยเหตุ 5 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ และอธิปไตยที่เป็นทิพย์