ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
สัจจบารมี ยอมตายไม่ยอมคด
"ท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมีให้เต็มเปี่ยม อย่าได้พูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์ เป็นต้น ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่โคจรไปในทางอื่น โครจรเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใดแม้ท่านไม่ละสัจจะ ไม่ทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น "
วันมหาปวารณา วันที่พระภิกษุสงฆ์ทุกรูปเปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้
วันมหาปวารณา คือ การทำปวารณาครั้งใหญ่ หมายถึง วันที่พระภิกษุสงฆ์ทุกรูปทั้งพระผู้ใหญ่และพระผู้น้อยต่างเปิดโอกาสอนุญาตแก่กันและกัน ให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ด้วยจิตที่เมตตา ซึ่งเป็นวันเดียวกันกับวันออกพรรษา
เลิกเหล้าเข้าพรรษา
สุรามีที่มาที่ไปอย่างไร? ทำไมการไม่ดื่มสุราจึงถูกบัญญัติให้เป็นข้อห้ามข้อหนึ่งในศีล ๕ ? จะหลีกเลี่ยงการสังสรรค์ที่เกี่ยวกับการงานอย่างไรดี? และจะทำตัวอย่างไรไม่ให้แปลกแยก? เงินก็ของเรา ดื่มเหล้าแล้วไม่เคยไปหาเรื่องใคร ยังมีความผิดอยู่ไหม?
วันธรรมชัย 27 สิงหาคม วันแห่งการประกาศชัยชนะ
วันธรรมชัย คือ วันอุปสมบทของหลวงพ่อธัมมชโย วัดพระธรรมกาย คำว่า “ธรรมชัย” มาจากฉายาของหลวงพ่อธัมมยโชที่ได้รับในวันอุปสมบท มีความหมายว่า "ผู้ชนะโดยธรรม"
สถานการณ์ชายไทย
ชายไทยทำไมต้องบวช และทำไมต้องบวชนานถึง ๓ เดือน ในช่วงเข้าพรรษา? บางคนบวช ๓ เดือนไม่ได้ อยากบวช ๑ เดือน อานิสงส์ต่างกันไหม?
เกาะติดความปลื้ม 13 มกราคม “วัดแห่งเมืองนนทบุรีที่มีแต่ความสุข”
วันนี้ผู้สื่อข่าวบุญสว่างขอเสนอคำว่า “นนทบุรี” มาจากภาษาบาลีว่า “นนท” แปลว่า “ดีใจ” และคำว่า “บุรี” แปลว่า “เมือง” เมื่อรวมเป็นคำว่า นนทบุรีจึงหมายถึงเมืองที่มีความดีใจ หรือ เมืองที่มีความสุขนั่นเองค่ะเมื่อเช้านี้พุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญได้แบ่งสายออกบิณฑบาตโปรดญาติโยมด้วยความสุขใจ
คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อานิสงส์ทำบุญทอดกฐิน
นายติณบาลทำงานให้เศรษฐีด้วยความขยันขันแข็ง วันหนึ่ง บุญเก่ามาตักเตือน ทำให้คิดได้ว่า "ตัวเรายากจนเช่นนี้ ก็เพราะไม่เคยทำบุญไว้ในชาติปางก่อน ชาตินี้จึงต้องมาเป็น คนรับใช้ แม้สมบัติติดตัวสักนิดก็ไม่มี ทั้งยังไร้ญาติขาดมิตรที่จะคอยช่วยเหลือ"