มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - ทางมาแห่งคุณธรรม
เพราะฉะนั้น เวลามีใครมาชี้โทษตักเตือนเรา ก็อย่าได้ขุ่นมัว ถ้าเราพิจารณาดูแล้วพบว่า เราผิดจริงก็แก้ไขปรับปรุงเสีย ถ้าไม่ผิดก็รับฟังด้วยความเคารพ แล้วค่อยๆ ปรับความเข้าใจในภายหลัง ให้คิดว่าผู้ที่คอยชี้โทษหรือบอกข้อบกพร่องให้เรานั้น เป็นผู้มาชี้บอกขุมทรัพย์ให้แก่เรา เราจะได้ตั้งใจฝึกฝนอบรมตนเองให้ยิ่งๆขึ้นไป
มหาสุบินของพระพุทธเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่นอนหลับ มีสติตั้งมั่น รู้สึกตัวอยู่ ย่อมหลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย หรือหากฝันก็ฝันแต่เรื่องที่เป็นสิริมงคล เทวดาจะลงปกปักรักษา
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 53
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 53 บทความให้กำลังใจ คำคมกำลังใจ ข้อความให้กำลังใจคนที่คุณรักและปรารถนาดี บทความให้กำลังใจกลอนให้กำลังใจเป็นกำลังใจในการดำเนินชีวิต กลอนให้กำลังใจ มีทั้งรูปภาพและข้อความให้กำลังใจ ที่นี่
นรก-สวรรค์
บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา ... ด้วยใจ บุคคลนั้นครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา... ด้วยใจแล้ว เพราะกายแตก ตายไปย่อมเข้าถึงอุบาย ทุคติ วินิบาต นรก นิรยบาลทั้งหลาย ต่างก็จับบุคคลนั้นที่แขนไปแสดงแก่พญายมว่า
อกตัญญุตาชาดก-ชาดกว่าด้วยคนอกตัญญู
พุทธกาลสมัยหนึ่งครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวกทั้งหลายกลับจากกรุงราชคฤห์ แผ่นดินมคธมาสู่พระเชตวันมหาวิหาร ณ นครสาวัตถี ในโกศลรัฐนั้น สิ่งร้าวรานที่เกิดจาก เทวทัตเถระ กระทำย่ำยีต่อพระพุทธศาสนาในการแบ่งแยกหมู่สงฆ์และสะพิงบัญญัติใหม่แปลกไปจากพุทธวินัยในแคว้นมคธก็กลายเป็นข้อวิภาคเจ็บร้อนขึ้นในธรรมสภา
ผู้ตื่นที่แท้จริง
เมื่อคนทั้งหลายในโลกนี้ตื่นอยู่ ใครเป็นผู้หลับ แต่เมื่อคนทั้งหลายในโลกนี้ หลับแล้ว ใครเป็นผู้ตื่น ใครเข้าใจปัญหาข้อนี้ของเรา ใครจะแก้ปัญหาข้อนี้ของเราได้
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
ภาษาดอกไม้
ไม่มีอะไรที่จะสร้างและทำลายมิตรได้อย่างมีอานุภาพเท่าคำพูด แล้วจะทำอย่างไรถึงจะพูดภาษาดอกไม้ให้คนฟังมีพลัง
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....