พระพุทธศาสนาในเวียดนาม
พระพุทธศาสนา ได้รับผลกระทบจากสภาพความวุ่นวายทางการเมืองและสงครามเรื่อยมา สถาบันศาสนาก็ถูกรังแกอย่างไม่เป็นธรรม จนเป็นเหตุของการสร้างความตกตะลึงให้ชาวโลก ในปี พ.ศ.2506 มีพระภิกษุและแม่ชีในเวียดนาม เผาตัวเองประท้วงฝ่ายปกครอง
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (4)
ผู้ครองเรือนไม่ควรบริโภคอาหารที่มีรสอร่อยแต่ผู้เดียว ไม่ควรซ่องเสพถ้อยคำให้ติดอยู่ในโลก ที่ไม่เกื้อกูลต่อสวรรค์และนิพพาน เพราะถ้อยคำเช่นนั้น ไม่ทำให้ปัญญาเจริญได้เลย ผู้ครองเรือนพึงเป็นผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยวัตร ไม่ประมาท มีปัญญาเครื่องสอดส่องเหตุผล มีความประพฤติถ่อมตน ไม่เป็นคนตระหนี่ถี่เหนียว เป็นผู้สงบเสงี่ยม มีวาจาเป็นมิตร
ธรรมเนียมปฏิบัติต่อผู้ใกล้ตาย
ธรรมเนียมปฏิบัติต่อผู้ใกล้ตาย เป็นหน้าที่ของพวกญาติมิตรที่ต้องทราบเพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง แม้บางครั้งอาจจะไม่ถูกใจของญาติมิตรบางคน หรือแม้แต่ผู้ที่ใกล้ตายก็ตาม แต่ก็เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำเพื่อคนใกล้ตาย
เส้นทางสู่ความเป็นพุทธะ_1
ธรรมดาของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย แม้รู้ว่าสกลจักรวาลทั้งสิ้น เต็มด้วยถ่านเพลิงซึ่งปราศจากเปลว เกลื่อนกล่นด้วยหอก และหลาว ดารดาษไปด้วยหนามแหลม หรือเต็มด้วยน้ำปริ่มฝั่งแล้ว หากสามารถก้าวข้ามได้ จะได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ตัดสินใจที่จะทอดเท้าก้าวข้ามไป เพื่อให้ได้มาซึ่งสัพพัญญุตญาณอันประเสริฐ
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๒)
ในระหว่างทาง ได้พบเหตุการณ์อีกมากมาย และยังมีเรื่องราวที่จะโยงไปถึงพระราชาโพธิสัตว์อีกหลายเรื่อง วันนี้คงกล่าวได้ไม่หมด คงต้องทยอยมาเล่าให้ฟัง เราจะ ได้เห็นถึงพระปัญญาอันลึกซึ้งของพระโพธิสัตว์ ที่สามารถตอบปัญหาทุกข้อได้อย่างแจ่มแจ้งยิ่งกว่าลืมตาเห็น และที่น่าทึ่งคือ ท่านยังทรงพระเยาว์อยู่ ขึ้นครองราชย์ตอนอายุเพียง ๗ ชันษาเท่านั้นและท่านจะต้องตอบคำถามเหล่านี้
ศาสดาเอกของโลก (๒)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้นแบบของยอดนักสร้างบารมี ที่สร้างบารมีในทุกเวลาทุกสถานที่ ไม่ว่าจะกี่ภพกี่ชาติพระพุทธองค์มุ่งสร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
พระสังฆคุณ
สุปฏิปนฺฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฺฐ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเณยฺโย อญฺชลีกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺส