มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - โลกตระการของคนเขลา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ตรัสถึงการให้ทานว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ เพราะเป็นการขจัดความตระหนี่ออกจากใจ จะได้เป็นบุญกุศลติดตัวข้ามภพข้ามชาติ เกิดมากี่ภพกี่ชาติจะได้ไม่ต้องลำบากในการทำมาหากิน จะได้สร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แล้วจึงตรัสเรื่องการรักษาศีล ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งมวลที่จะทำให้มีความสุข ความบริสุทธิ์ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - อดทนให้ถึงที่สุด
พระกุมารทรงระลึกชาติหนหลัง ก็รู้ว่าก่อนที่ตนจะมาเกิดในพระราชฐานนี้ ได้จุติมาจากเทวโลก และทรงระลึกย้อนไปอีกว่า ก่อนที่จะอยู่ในเทวโลก ได้มาจากมหานรกขุมหนึ่ง และก่อนที่จะตกนรก ได้ เคยเกิดเป็นพระราชาอยู่ในแคว้นนี้เอง จึงทรงดำริว่า ถ้าเราครองราชสมบัติอีก ก็จะต้องสร้างกรรม และต้องเสวยทุกข์ใหญ่ในมหานรกอีกอย่างแน่นอน
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๑)
เรื่องราวชีวิตในสังสารวัฏนั้น มีเรื่องแปลกๆ มากมาย ที่เป็นคำถามให้สงสัย รอคอยผู้มีบุญมาเฉลยคำตอบ ชีวิตของบุคคลที่เกิดมา ล้วนมีฉากหลังกำกับ นั่นคือบุญและบาป ขึ้นอยู่กับสิ่งใดจะมีกำลังส่งผลมากกว่ากัน คนที่ได้รับผลบุญพิเศษนั้น จะต้องสร้างบุญไว้มากๆ ไม่ใช่ว่าจะได้มาอย่างง่ายๆ ถ้าอยากกำหนดชีวิตของเราให้เป็นไปในทิศทางใด
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ความไม่ประมาท
แม้แต่สัตว์เดียรัจฉานในแคว้นกุรุ ยังประกอบด้วยการเจริญสติถึงเพียงนี้ ไม่ยอมเป็นผู้ประมาทในชีวิตแม้มีมรณภัยมาถึง เราทุกคนซึ่งได้โอกาสเกิดมาเป็นมนุษย์ มีชีวิตที่ประเสริฐกว่า มีสองแขนสองขา มีสติปัญญา สามารถทำความดี ได้เต็มที่มากกว่า เราจึงควรดำเนินชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - น้ำอุบาทว์ผลาญชีวิตและทรัพสิน
เมื่อลูกชายขี้เมาได้หม้อสารพัดนึก แทนที่จะทำตามโอวาทที่ท้าวสักกะให้ไว้ กลับยิ้มย่องคิดว่า ตัวเรานี้ช่างโชคดีเหลือเกิน มีเทวดาคอยช่วยเหลือ จึงเที่ยวดื่มสุรากับเพื่อนๆ ไม่ยอมทำมาหากิน วันหนึ่ง ลูกชายเมามาก และด้วยความคึกคะนอง ได้โยนหม้อขึ้นไปในอากาศ แต่โชคร้ายที่เกิดรับพลาด หม้อได้ตกลงมาแตก
รู้ว่าทุกอย่างไม่เที่ยง ก็ไม่มีทุกข์แล้ว
เวียงลอ รอคอย
เขาเป็นนักการเมือง...ได้มีโอกาสปกป้องผืนแผ่นดิน ซึ่งเป็นสมบัติของพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ฟื้นฟู บูรณะ และรักษาเมืองโบราณ ณ ผืนแผ่นดินดังกล่าว ด้วยความปรารถนา อยากจะเห็นแผ่นดินไทย เป็นแผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง...มาร่วมกันศึกษาเรื่องราวของเขา ในแบบของโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
ความสุขอันอิ่มเอม บนเส้นทางธรรม ของ ภัทริน ซอโสตถิกุล