อย่าตายฟรี ๆ
เวลาในแต่ละวันผ่านไปเร็วมาก เดี๋ยววัน เดี๋ยวคืนเผลอประเดี๋ยวเดียวก็ผ่านไปเป็นสิบ ๆ ปี ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะได้คิด หรือมีเวลาหยุดคิด ก็ตอนเจอมรสุมของชีวิตตอนหมดเรี่ยวหมดแรง ตอนแก่ ตอนป่วย หรือคิดได้ตอนใกล้จะตาย
I can’t respect monks, can I?
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - แม้เป็นคนดี ก็ไม่ควรประมาท
รุ่งขึ้น พระราชาให้นำไหขนาดใหญ่บรรจุคูถจนเต็ม เอาใบตองมาผูกปากไหไว้ ให้ไปตั้งเรียงกัน ใส่น้ำมันยาง ต้นกากะทิง และหนามงิ้วหนาๆ จนเต็มหม้อ วางไว้หัวบันได ทรงให้พวกนักมวยร่างใหญ่ ถือค้อนยืนอยู่ใกล้ๆ หัวบันได จากนั้นพระองค์ทรงรอคอยด้วยความอาฆาตแค้นที่สุมแน่นอยู่ในอก
คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
ผู้ให้คือผู้ชนะ
ดวงจันทร์ปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศ ย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวทั้งปวงในโลก ด้วยรัศมี ฉันใด บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีศรัทธา ก็ฉันนั้น ย่อมไพโรจน์กว่าผู้ตระหนี่ทั้งปวง
มหารถเทพบุตร
ข้าแต่ท่านผู้เป็นมุนี เมื่อใครๆ หวังอยากเป็นผู้มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ และรูปอันประณีต อย่าพึงมีใจข้องอยู่ในสิ่งอื่น พึงยังข้าวและน้ำอันตนตบแต่งดีแล้วเป็นอันมาก ให้ตั้งไว้ในพระพุทธเจ้า เพราะใครๆ ในโลกนี้หรือโลกอื่น จะเป็นผู้ประเสริฐกว่า หรือเสมอด้วยพระพุทธเจ้า มิได้มี พระตถาคตเจ้านั้น ถึงแล้วซึ่งความเป็นผู้ควรบูชาอย่างยิ่งกว่าบุคคลผู้ควรบูชาทั้งหลาย ของชนผู้มีความต้องการบุญ แสวงหาผลอันไพบูลย์
อานิสงส์ทำจิตเลื่อมใสในพระญาณ
เราได้ยังจิตให้เลื่อมใสในพระญาณ ประณมอัญชลี มีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ถวายบังคมพระพุทธเจ้าพระนามว่า สิทธัตถะ ด้วยอานุภาพแห่งบุญที่ได้กระทำในครั้งนั้น ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้ เราได้เสวยทิพยสมบัติมากมายหลายภพหลายชาติ เราไม่เคยไปสู่ทุคติเลย
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
การบรรลุธรรมไม่ได้จำกัดชนชั้น การหมดกิเลสไม่ได้จำกัดวัย การสิ้นอาสวะไม่ได้จำกัดเพศภาวะ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น ไม่ว่าใคร ๆ
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้