เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๓)
มนุษย์ทั้งหลายมักติดข้องกันอยู่เช่นนี้มายาวนาน ทำให้ลืมเลือนภารกิจหลักที่แท้จริงของชีวิต คือ การเกิดมาสร้างบารมี ทำความบริสุทธิ์บริบูรณ์ให้แก่ตนเอง ด้วยการกลั่นจิตกลั่นใจให้ใสบริสุทธิ์
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๒)
การประพฤติปฏิบัติธรรมด้วยการทำใจหยุดใจนิ่ง เป็นหัวใจของการสร้างบารมี...
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 4 (ตอนพระพุทธเนรมิต)
เราเป็นผู้ครอบงำธรรม ได้ทั้งหมด รู้ธรรมทุกอย่าง ไม่ติดอยู่ในธรรมทั้งปวง ละธรรมอันเป็นไปในภูมิสามได้ทุกอย่าง พ้นแล้วในธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา รู้เองแล้ว จะพึงอ้างใครเล่า ว่าเป็นอุปัชฌาย์อาจารย์
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(8)
คนเหล่าใดในโลกนี้ เป็นคนตระหนี่ ดีแต่ว่าคนอื่น ทำการกีดขวางคนอื่นผู้ให้อยู่ คนเหล่านั้นย่อมเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน หรือยมโลก
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(3)
บุคคลย่อมบังเกิดในขัตติยตระกูลเพราะพรหมจรรย์ขั้นต่ำ บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นเทวดาเพราะพรหมจรรย์ชั้นกลาง และบุคคลย่อมบริสุทธิ์ เพราะพรหมจรรย์อย่างสูงสุด
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - ผู้มีจิตมั่นคง
ครั้นเวลาเช้า พระภิกษุสงฆ์มีพระเถระทั้งสองเป็นประมุข ได้ออกบิณฑบาตไปตามถนน แล้วมาพักฉันภัตตาหารที่บ้านของนางนันทมารดาซึ่งได้จัดเตรียมไว้เป็นอย่างดี เมื่ออังคาสภิกษุสงฆ์ให้อิ่มหนำสำราญแล้ว นางก็เข้าไปนั่งสนทนา เล่าเรื่องที่ได้สนทนากับท้าวเวสสวัณเมื่อรุ่งอรุณให้พระเถระทั้งสองฟัง
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - สมณทัสสนา
ผีเสื้อน้ำที่สุวรรณภูมิอาศัยอยู่ในทะเล หากมีทารกเกิดในราชตระกูลเมื่อใด จะขึ้นมาจับทารกไปกินอยู่เสมอๆ ในวันที่พระเถระทั้งหลายไปถึงสุวรรณภูมิ และประจวบเหมาะกับเป็นวันที่เด็กเกิดในราชตระกูลพอดี พวกชาวเมืองเห็นพระเถระเข้า ก็พากันเข้าใจว่าเป็นพวกผีเสื้อน้ำ เพราะไม่เคยเห็นพระภิกษุมาก่อนเลย ต่างก็ถืออาวุธเข้าไปจะทำร้ายพระเถระ
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - นางยักษิณี ผู้ใคร่ในธรรม
นางยักษิณีตนหนึ่ง ได้อุ้มอุตราผู้เป็นธิดา และจูงปุนัพพสุผู้เป็นลูกชายแสวงหาอาหารริมกำแพง และริมคูคลองหลังวัดพระเชตวัน เมื่อไปถึงซุ้มประตู นางก็เห็นพุทธบริษัทสงบนิ่งไม่ไหวติง ฟังธรรมด้วยความเคารพในพระพุทธเจ้า เหมือนเปลวประทีปตั้งไว้ในที่ที่ไม่มีลม จึงเกิดความเลื่อมใสแล้วคิดว่า ก็ในที่นี้คงจะมีของแจกให้เรากิน เพื่อประทังชีวิตได้แน่
มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - ความพอดีให้เกิดสุข
ด้วยความที่ไม่รู้จักพอ และไม่รู้สถานะของตนเอง ทำตัวอย่างนี้มายาวนาน อยากได้อยากมีอยากเป็นอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา กาจึงบินไปเกาะที่กิ่งไม้พลางเอ่ยถามพระโพธิสัตว์ว่า เจ้านกกระจาบผู้เจริญ เจ้ากินอาหารที่ละเอียดประณีตอย่างไร จึงเป็นผู้ที่มีรูปร่างแข็งแรงสมบูรณ์อย่างนี้ ได้โปรดบอกเราหน่อยเถิด